EN / TH

การจัดการโรค และแมลงศัตรูอ้อย

การผลิตอ้อยของประเทศไทยจากภาพที่ผ่านมาในอดีตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ปริมาณผลผลิตอ้อยในแต่ละปีมีความเปลี่ยนแปลงต่ำสุดหรือสูงสุดแบบทำลายสถิติก็เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งอาจกล่าวได้ว่าช่วง 3 ปีการผลิตหลังมานี้ มีการทำลายสถิติปริมาณอ้อยเข้าหีบกันทุกปีต่อเนื่องกระทั่งปีล่าสุด (ปีการผลิต 2557/58) ที่มีอ้อยเข้าหีบสูงถึง 104.595 ล้านตัน ซึ่งบ่งบอกถึงการประสบความสำเร็จและการก้าวข้ามขีดจำกัดบางประเด็นมาได้

    ศัตรูธรรมชาติ คือ สิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์การควบคุมศัตรูอ้อยโดยชีววิธี โดยการกิน เบียดเบียนทำลายศัตรูอ้อย และทำให้ศัตรูอ้อยตายก่อนอายุขัย ถูกจัดแบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้

    1. ตัวห้ำ (Predators) เป็นสิ่งมีชีวิตที่กินศัตรูอ้อยเป็นอาหาร มีทั้งชนิดที่เป็นแมลง เช่น แมลงหางหนีบ แมลงช้าง และที่ไม่ใช่แมลง เช่น แมงมุม ไร นก ซึ่งตัวห้ำหนึ่งตัวสามารถกินศัตรูอ้อย ได้ทีละหลาย ๆ ตัว และตลอดชีวิตของมันสามารถควบคุมแมลงศัตรูอ้อยได้จำนวนมาก ตัวห้ำจึงมี บทบาทสำคัญในการควบคุมปริมาณศัตรูอ้อย ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดเสียหาย
    2. ตัวเบียน (Parasites) เป็นสิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการเบียดเบียน

Facebook
Twitter

Related Articles

การจัดการวัชพืชในไร่อ้อย

หมายถึงวิธีการจัดการลดการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างอ้อยกับวัชพืชซึ่งมีหลายวิธีการเช่น การใช้สารเคมีการใช้เครื่องมือเครื่องจักรและการเขตกรรม วิธีการจัดการวัชพืชในไร่อ้อยจะให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดจะต้องผสมผสานวิธีการให้เหมาะสม

Read More »

พันธุ์อ้อย

อ้อย มีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ แต่ละสายพันธุ์จะแตกต่างกันที่ความสูงของต้น

Read More »
en_USEnglish